HOME.TITLE
สินค้า
ก๊อกเท้าเหยียบ
บทความ
บทความ
การเลือกซื้อตู้ทำน้ำเย็น
การเลือกซื้อตู้ทำน้ำเย็น อย่างไรดีตู้ทำน้ำเย็น หลายคนคงรู้จักเป็นอย่างดีโดยเฉพาะตู้ทำน้ำเย็นตามโรงเรียน ซึ่งให้เด็กนักเรียนได้ดื่มกัน เพราะตู้ทำน้ำเย็นมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากสภาวะอากาศและเครื่องทำน้ำเย็นเป็นอุปกรณ์มหัศจรรย์ที่ช่วยเปลี่ยนให้น้ำประปาหรือน้ำดื่มธรรมดากลายเป็นน้ำเย็นที่สร้างความสดชื่นคลายความเหนื่อยล้าและความร้อนได้เป็นอย่างดี
โดยใช้หลักการถ่ายเทความร้อนไปที่ถังทำความเย็น ที่มีน้ำยาตัวทำความเย็นเป็นส่วนประกอบในการทำให้น้ำภายในตัวเครื่องนั้นเกิดเป็นน้ำแข็งและส่งน้ำเย็นออกมาผ่านทางก็อกน้ำให้เราได้ดื่มกัน และเราควรเลือกซื้อเครื่องทำน้ำเย็นแบบไหนกันดีละ เพราะในปัจจุบันเครื่องทำน้ำเย็นหลากหลายประ้ภท ให้เลือกมากมายการเลือกซื้อ ตู้ทำน้ำเย็น1 ศึกษาข้อมูลมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่นำมาประกอบเป็นตู้น้ำดื่มและเลือกซื้อกับตัวแทนของบริษัทที่มีการผลิตที่ได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ
2 เลือกซื้อเครื่องทำน้ำเย็น ที่ทำด้วยเหล็กไร้สนิมเกรดดี ชนิดหนา ที่ใช้กับอาหาร ไม่มีส่วนผสมของตะกั่ว
3 การเชื่อมตะเข็บรอยต่อตู้ทำน้ำเย็น ต้องเชื่อมด้วยก๊าซอาร์กอน โดยสังเกตจากรอยเชื่อมที่มีขนาดเล็กตามตะเข็บภายในและรอยเชื่อมตลอดแนวยาวด้านนอก
4 ท่อน้ำเข้าและท่อส่งน้ำไปก๊อกน้ำดื่มของตู้น้ำเย็น ควรเลือกที่เป็นข้อต่อพลาสติกที่ใช้กับอาหาร ซึ่งไม่ทำให้น้ำมีกลิ่น รส สี เปลี่ยนไปจากเดิม และไม่มีสารพิษในเนื้อพลาสติกเกินค่าที่กำหนด
5 หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม หรือไม่มั่นใจควรปรึกษานักวิชาการที่เกี่ยวข้อง และเราขอนำเสนอเครื่องทำน้ำเย็นที่ได้คุณภาพท่านสามารถเข้ามาเลือกซื้อได้จากเว็บ http://c-formth.com/ ซึ่งมีเครื่องทำน้ำเย็นมากมายให้ท่านได้เลือกซื้อหาตามแบบความต้องการของคุณได้ทางเราก็จะมีสินค้า แบบตู้ทำน้ำดื่มแบบคว่ำ ตูทำน้ำดื่นพลาสติก ตู้ทำน้ำดื่มสแตนเลส และยังมีเครื่องกรองน้ำ และแบบค่าเชื้อ uv อีกครับและที่สำคัญทางเรายังมีเครื่องตู้น้ำให้ท่านสำหรับเช่าอีกครับ และใครที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่ Tel. 081-868-0293 ยินดีให้บริการ ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
โดยใช้หลักการถ่ายเทความร้อนไปที่ถังทำความเย็น ที่มีน้ำยาตัวทำความเย็นเป็นส่วนประกอบในการทำให้น้ำภายในตัวเครื่องนั้นเกิดเป็นน้ำแข็งและส่งน้ำเย็นออกมาผ่านทางก็อกน้ำให้เราได้ดื่มกัน และเราควรเลือกซื้อเครื่องทำน้ำเย็นแบบไหนกันดีละ เพราะในปัจจุบันเครื่องทำน้ำเย็นหลากหลายประ้ภท ให้เลือกมากมายการเลือกซื้อ ตู้ทำน้ำเย็น1 ศึกษาข้อมูลมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่นำมาประกอบเป็นตู้น้ำดื่มและเลือกซื้อกับตัวแทนของบริษัทที่มีการผลิตที่ได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ
2 เลือกซื้อเครื่องทำน้ำเย็น ที่ทำด้วยเหล็กไร้สนิมเกรดดี ชนิดหนา ที่ใช้กับอาหาร ไม่มีส่วนผสมของตะกั่ว
3 การเชื่อมตะเข็บรอยต่อตู้ทำน้ำเย็น ต้องเชื่อมด้วยก๊าซอาร์กอน โดยสังเกตจากรอยเชื่อมที่มีขนาดเล็กตามตะเข็บภายในและรอยเชื่อมตลอดแนวยาวด้านนอก
4 ท่อน้ำเข้าและท่อส่งน้ำไปก๊อกน้ำดื่มของตู้น้ำเย็น ควรเลือกที่เป็นข้อต่อพลาสติกที่ใช้กับอาหาร ซึ่งไม่ทำให้น้ำมีกลิ่น รส สี เปลี่ยนไปจากเดิม และไม่มีสารพิษในเนื้อพลาสติกเกินค่าที่กำหนด
5 หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม หรือไม่มั่นใจควรปรึกษานักวิชาการที่เกี่ยวข้อง และเราขอนำเสนอเครื่องทำน้ำเย็นที่ได้คุณภาพท่านสามารถเข้ามาเลือกซื้อได้จากเว็บ http://c-formth.com/ ซึ่งมีเครื่องทำน้ำเย็นมากมายให้ท่านได้เลือกซื้อหาตามแบบความต้องการของคุณได้ทางเราก็จะมีสินค้า แบบตู้ทำน้ำดื่มแบบคว่ำ ตูทำน้ำดื่นพลาสติก ตู้ทำน้ำดื่มสแตนเลส และยังมีเครื่องกรองน้ำ และแบบค่าเชื้อ uv อีกครับและที่สำคัญทางเรายังมีเครื่องตู้น้ำให้ท่านสำหรับเช่าอีกครับ และใครที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่ Tel. 081-868-0293 ยินดีให้บริการ ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
ตู้น้ำดื่มระบบ NANO TECHNOLOGY
ทำไมต้องระบบ NANOก่อนหน้านี้ เราอาจจะพิถีพิถันเรื่องของน้ำดื่มแค่ว่า ต้องเป็นน้ำสะอาด ปราศจากเชื้อโรค เพื่อทำให้เราไม่เกิดอาการติดเชื้อของทางเดินอาหารเท่านั้น อย่างน้ำประปาที่เราใช้ก็ถูกควบคุมให้มีความใส สะอาด ปราศจากแบคทีเรีย โดยเฉพาะอีโคไล
แต่ถึงวันนี้ดูเหมือนว่า การวิจัยเรื่องน้ำจะไปไกลกว่านี้ มากนัก โดยมีนักวิทยาศาสตร์ทางซีกเยอรมัน แคนาดาและญี่ปุ่น เป็นผู้ทำการศึกษาเรื่องของน้ำอย่างแข็งขัน
แล้วเขาก็พบว่า น้ำที่ถือว่ามีคุณภาพจริง ๆ น่าจะเป็นน้ำที่มาจากธรรมชาติที่บริสุทธิ์ นักวิทยาศาสตร์ซีกเยอรมัน อธิบายว่าน้ำที่มีคุณภาพน่าจะต้องมีโมเลกุลที่พิเศษออกไป กล่าวคือ มุมของไฮโดรเจน 2 อะตอมที่เกาะกับออกซิเจนจะต้องเป็นมุมที่กว้างกว่า น้ำที่มีโมเลกุลพิเศษแบบนี้จะมีคุณสมบัติแตกต่างจากน้ำธรรมดาตรงที่มันจะสามารถนำเกลือแร่และสารอาหารที่มีประโยชน์ อื่น ๆ เข้าสู่เซลล์ได้สะดวกกว่า ทำให้เซลล์ได้อาหารมากกว่า และมีสุขภาพดีกว่า
แล้วเขาก็อธิบายว่า การทำน้ำให้มีคุณสมบัติพิเศษแบบนี้ทำได้หลายวิธี กล่าวคือ เอาน้ำไปผ่านสนามแม่เหล็ก ความแรงที่เหมาะสม เอาไปผ่านน้ำต้นแบบ เอาไปผ่านรัตนชาติบางอย่าง เอาไปผ่านกรรมพิธีเช่นการสวดมนต์ (การทำน้ำมนต์แบบบ้านเรานั่นแหละ) ก็ได้
ย่อมแสดงว่าน้ำที่มีการเกาะของไฮโดรเจนเป็นมุมกว้างหรือมีรูปผลึกสวยงามจะช่วยทำให้การดูดซึมสารอาหารเพิ่มมากกว่าเดิม เมื่อเป็นดังนี้เซลล์ร่างกายก็จะได้สารอาหารที่จำเป็นมากกว่าปกติ
นอกจากน้ำคุณภาพที่กล่าวยกตัวอย่างมาแล้ว สมัยนี้ยังมีน้ำต้านอนุมูลอิสระอีก ซึ่งหากเอาน้ำประปาธรรมดาผ่านเครื่องกรองนาโนเทคโนโลยีที่สามารถสร้างสารต้านอนุมูลอิสระได้ มาวัดหาค่าของประจุลบ ปรากฏ ว่าน้ำมีค่าของประจุลบสูงมาก แสดงว่ามีผลในการต้านอนุมูลอิสระได้ดี
จะเห็นว่า ทุกวันนี้ในท้องตลาด มีน้ำจากเทคโนโลยี ใหม่ ๆ หลายรูปแบบให้เลือกมากมาย ...ก็แล้วแต่ว่าใครต้องการน้ำชนิดไหน ศึกษาให้ดีก็แล้วกัน บทความตอนนี้ก็เพื่อให้เข้าใจแนวทางกว้าง ๆ ของน้ำดื่มรูปแบบใหม่ได้ดีขึ้น
*บทความจากขวัญเรือน ฉบับที่ 857 ปักษ์แรก พ.ค.*
เครื่องกรองน้ำนาโน pH เป็นการ เพิ่มหรือลดตะกอนไฮโดรเจน เพื่อปรับความหนาแน่นของปริมาณอิเล็กตรอนในน้ำโดยลดการเกิดอนุมูลอิสระ(สารก็มะเร็ง) โดยเป็นการทำให้ค่า ORP เป็นลบ (OXIDATION REDUCTION POTENTIA) เครื่องกรองน้ำนาโน pH มีค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ระหว่าง 8-10 และมีค่า ORP อยู่ระหว่าง 100~-200 mV อายุการใช้งาน 3,600 ลิตร
แร่ธาติธรรมชาติในไส้กรอง NANO1. ผง Tourmaline จะกระตุ้นให้เกิดการผลิตไฮโดรเจน และทำให้เกิดกระบวนการเพิ่มประจุไฟฟ้า2. ผง Magnetile ปฎิกริยาการเพิ่มและลดออกซิเจน3. ผง Zeolite เป็นสารที่มีคุณสมบัติเป็นตัวแทนที่ประจุไฟฟ้าได้เป็นอย่างดีโดยอาศัยกระบวนการดูดซึม4. ผงถ่าน5. Gur binder (ผ่านการรับรองจากFDA) และสารยึดเกาะที่มีส่วนผสมของโพลีเอธิลีนที่อัดตัวกันเป็นรูพรุนภายในไส้กรอง
การลดปริมาณออกซิเจนคืออะไรORP หรือ OXIDATION REDUCTION POTENTIA คือค่าจากการวัดปริมาณความเข้มข้นของอิเล็กตรอนในน้ำ ที่เกิดจากกระบวนการเพิ่มออกซิเจน (Oxidation) กับกระบวนการออกซิเจน (Reduction) โดยใช้หน่วยวัดเป็นมิลลิโวลท์ (Milli Volt หรือ mV) ซึ่งค่าสุทธิได้อาจออกมาเป็นผลบวก (+) ก็ได้ หรือเป็นผลลบ (-) ก็ได้ ค่าที่ได้หลังจากหักลบระหว่างประจุไฟฟ้าบวกกับลบปริมาณ Election ที่อยู่ในน้ำจึงเป็นการวัดค่าศักย์ เนื่องจากอิเล็คตรอน คือ ตัวแทนของพลังงาน (Energy) หากได้ค่าที่ต่ำจะหมายถึงมีความสามารถในการลดออกซิเจนสูง แต่หากได้ค่าที่มากจะหมายถึงมีความสามารถในการเพิ่มออกซิเจน ดังนั้น การเพิ่มปริมาณไฮโดรเจน และรักษาสมดุลของแร่ธาตุจะผลิตน้ำดื่มทีมีค่าความความเป็นด่างที่ทำให้ร่างกายมีชีวิตชีวาได้
เครื่องกรอง NANO ให้ประโยชน์อย่างไร
รูปแบบไส้กรอง NANO
LOHAS เป็นเทคนิคที่สามารถผลิตแร่ธาตุและโฮโดรเจนอย่างมากมายได้ มีค่าความเข้มข้นของอิเล็คตรอน อยู่ระหว่าง 100-250 mV
ขนาดโมเลกุลที่เล็กมีความเข้มข้นสูงและง่ายต่อการนำพาสู่ร่างกายและสามารถเพิ่มกระบวนการเผาผลาญอาหารเพื่อระเหยของเสียในร่างกาย(น้ำทั่วไปมีค่าอยู่ที่ 127Hz จะเท่ากับ Alkali Revivification water เพียง 62 Hz)
การกำจัดแอคทีฟออกซิเจนแอคทีฟออกซิเจนเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพและอายุ โดยการเพิ่มปฎิกิริยาการรวมตัวกับออกซิเจนและขัดขวางกระบวนการเผาผลาญอาหาร ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
ทำไมต้องระบบ NANOก่อนหน้านี้ เราอาจจะพิถีพิถันเรื่องของน้ำดื่มแค่ว่า ต้องเป็นน้ำสะอาด ปราศจากเชื้อโรค เพื่อทำให้เราไม่เกิดอาการติดเชื้อของทางเดินอาหารเท่านั้น อย่างน้ำประปาที่เราใช้ก็ถูกควบคุมให้มีความใส สะอาด ปราศจากแบคทีเรีย โดยเฉพาะอีโคไล
แต่ถึงวันนี้ดูเหมือนว่า การวิจัยเรื่องน้ำจะไปไกลกว่านี้ มากนัก โดยมีนักวิทยาศาสตร์ทางซีกเยอรมัน แคนาดาและญี่ปุ่น เป็นผู้ทำการศึกษาเรื่องของน้ำอย่างแข็งขัน
แล้วเขาก็พบว่า น้ำที่ถือว่ามีคุณภาพจริง ๆ น่าจะเป็นน้ำที่มาจากธรรมชาติที่บริสุทธิ์ นักวิทยาศาสตร์ซีกเยอรมัน อธิบายว่าน้ำที่มีคุณภาพน่าจะต้องมีโมเลกุลที่พิเศษออกไป กล่าวคือ มุมของไฮโดรเจน 2 อะตอมที่เกาะกับออกซิเจนจะต้องเป็นมุมที่กว้างกว่า น้ำที่มีโมเลกุลพิเศษแบบนี้จะมีคุณสมบัติแตกต่างจากน้ำธรรมดาตรงที่มันจะสามารถนำเกลือแร่และสารอาหารที่มีประโยชน์ อื่น ๆ เข้าสู่เซลล์ได้สะดวกกว่า ทำให้เซลล์ได้อาหารมากกว่า และมีสุขภาพดีกว่า
แล้วเขาก็อธิบายว่า การทำน้ำให้มีคุณสมบัติพิเศษแบบนี้ทำได้หลายวิธี กล่าวคือ เอาน้ำไปผ่านสนามแม่เหล็ก ความแรงที่เหมาะสม เอาไปผ่านน้ำต้นแบบ เอาไปผ่านรัตนชาติบางอย่าง เอาไปผ่านกรรมพิธีเช่นการสวดมนต์ (การทำน้ำมนต์แบบบ้านเรานั่นแหละ) ก็ได้
ย่อมแสดงว่าน้ำที่มีการเกาะของไฮโดรเจนเป็นมุมกว้างหรือมีรูปผลึกสวยงามจะช่วยทำให้การดูดซึมสารอาหารเพิ่มมากกว่าเดิม เมื่อเป็นดังนี้เซลล์ร่างกายก็จะได้สารอาหารที่จำเป็นมากกว่าปกติ
นอกจากน้ำคุณภาพที่กล่าวยกตัวอย่างมาแล้ว สมัยนี้ยังมีน้ำต้านอนุมูลอิสระอีก ซึ่งหากเอาน้ำประปาธรรมดาผ่านเครื่องกรองนาโนเทคโนโลยีที่สามารถสร้างสารต้านอนุมูลอิสระได้ มาวัดหาค่าของประจุลบ ปรากฏ ว่าน้ำมีค่าของประจุลบสูงมาก แสดงว่ามีผลในการต้านอนุมูลอิสระได้ดี
จะเห็นว่า ทุกวันนี้ในท้องตลาด มีน้ำจากเทคโนโลยี ใหม่ ๆ หลายรูปแบบให้เลือกมากมาย ...ก็แล้วแต่ว่าใครต้องการน้ำชนิดไหน ศึกษาให้ดีก็แล้วกัน บทความตอนนี้ก็เพื่อให้เข้าใจแนวทางกว้าง ๆ ของน้ำดื่มรูปแบบใหม่ได้ดีขึ้น
*บทความจากขวัญเรือน ฉบับที่ 857 ปักษ์แรก พ.ค.*
เครื่องกรองน้ำนาโน pH เป็นการ เพิ่มหรือลดตะกอนไฮโดรเจน เพื่อปรับความหนาแน่นของปริมาณอิเล็กตรอนในน้ำโดยลดการเกิดอนุมูลอิสระ(สารก็มะเร็ง) โดยเป็นการทำให้ค่า ORP เป็นลบ (OXIDATION REDUCTION POTENTIA) เครื่องกรองน้ำนาโน pH มีค่าความเป็นกรด-ด่างอยู่ระหว่าง 8-10 และมีค่า ORP อยู่ระหว่าง 100~-200 mV อายุการใช้งาน 3,600 ลิตร
แร่ธาติธรรมชาติในไส้กรอง NANO1. ผง Tourmaline จะกระตุ้นให้เกิดการผลิตไฮโดรเจน และทำให้เกิดกระบวนการเพิ่มประจุไฟฟ้า2. ผง Magnetile ปฎิกริยาการเพิ่มและลดออกซิเจน3. ผง Zeolite เป็นสารที่มีคุณสมบัติเป็นตัวแทนที่ประจุไฟฟ้าได้เป็นอย่างดีโดยอาศัยกระบวนการดูดซึม4. ผงถ่าน5. Gur binder (ผ่านการรับรองจากFDA) และสารยึดเกาะที่มีส่วนผสมของโพลีเอธิลีนที่อัดตัวกันเป็นรูพรุนภายในไส้กรอง
การลดปริมาณออกซิเจนคืออะไรORP หรือ OXIDATION REDUCTION POTENTIA คือค่าจากการวัดปริมาณความเข้มข้นของอิเล็กตรอนในน้ำ ที่เกิดจากกระบวนการเพิ่มออกซิเจน (Oxidation) กับกระบวนการออกซิเจน (Reduction) โดยใช้หน่วยวัดเป็นมิลลิโวลท์ (Milli Volt หรือ mV) ซึ่งค่าสุทธิได้อาจออกมาเป็นผลบวก (+) ก็ได้ หรือเป็นผลลบ (-) ก็ได้ ค่าที่ได้หลังจากหักลบระหว่างประจุไฟฟ้าบวกกับลบปริมาณ Election ที่อยู่ในน้ำจึงเป็นการวัดค่าศักย์ เนื่องจากอิเล็คตรอน คือ ตัวแทนของพลังงาน (Energy) หากได้ค่าที่ต่ำจะหมายถึงมีความสามารถในการลดออกซิเจนสูง แต่หากได้ค่าที่มากจะหมายถึงมีความสามารถในการเพิ่มออกซิเจน ดังนั้น การเพิ่มปริมาณไฮโดรเจน และรักษาสมดุลของแร่ธาตุจะผลิตน้ำดื่มทีมีค่าความความเป็นด่างที่ทำให้ร่างกายมีชีวิตชีวาได้
เครื่องกรอง NANO ให้ประโยชน์อย่างไร
รูปแบบไส้กรอง NANO
LOHAS เป็นเทคนิคที่สามารถผลิตแร่ธาตุและโฮโดรเจนอย่างมากมายได้ มีค่าความเข้มข้นของอิเล็คตรอน อยู่ระหว่าง 100-250 mV
ขนาดโมเลกุลที่เล็กมีความเข้มข้นสูงและง่ายต่อการนำพาสู่ร่างกายและสามารถเพิ่มกระบวนการเผาผลาญอาหารเพื่อระเหยของเสียในร่างกาย(น้ำทั่วไปมีค่าอยู่ที่ 127Hz จะเท่ากับ Alkali Revivification water เพียง 62 Hz)
การกำจัดแอคทีฟออกซิเจนแอคทีฟออกซิเจนเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพและอายุ โดยการเพิ่มปฎิกิริยาการรวมตัวกับออกซิเจนและขัดขวางกระบวนการเผาผลาญอาหาร ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค
มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคคุณลักษณะดัชนีคุณภาพน้ำหน่วยค่ามาตรฐานเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมเกณฑ์อนุโลมสูงสุดทางกายภาพ1.สี(Colour)ปลาตินัม-โคบอลต์5152.ความขุ่น(Turbidity)หน่วยความขุ่น5203.ความเป็นกรด-ด่าง (pH)-7.0-8.56.5-9.2ทางเคมี4.เหล็ก (Fe)มก./ล.ไม่เกินกว่า 0.51.05.มังกานีส (Mn)มก./ล.ไม่เกินกว่า 0.30.56.ทองแดง (cu)มก./ล.ไม่เกินกว่า 1.01.57.สังกะสี (Zn)มก./ล.ไม่เกินกว่า 5.015.08.ซัลเฟต (SO4)มก./ล.ไม่เกินกว่า 2002509.คลอไรด์ (Cl)มก./ล.ไม่เกินกว่า 25060010.ฟลูออไรด์ (F)มก./ล.ไม่เกินกว่า 0.71.011.ไนเตรด (NO3)มก./ล.ไม่เกินกว่า 454512.ความกระด้างทั้งหมด
(Total Hardness as CaCO3มก./ล.ไม่เกินกว่า 30050013.ความกระด้างถาวร
(Non carbonate hardness as CaCO3มก./ล.ไม่เกินกว่า 20025014.ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้
(Total disslved solids)มก./ล.ไม่เกินกว่า 6001,200สารพิษ15.สารหนู (As)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.0516.ไซยาไนด์ (CN)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.117.ตะกั่ว (Pb)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.0518.ปรอท (Hg)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.00119.แคดเมียม (Cd)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.0120.ซิลิเนียม (Se)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.01ทางบักเตรี21.บักเตรีที่ตรวจพบโดยวิธี
Standard plate countโคโลนีต่อ ลบ.ซม.ไม่เกินกว่า 500-22.บักเตรีที่ตรวจพบโดยวิธี
Most Probable Number (MPN)เอ็ม.พี.เอ็น
ต่อ 100 ลบ.ซม.น้อยกว่า 2.2-23.อี.โคไล (E.coli)-ต้องไม่มีเลย-
แหล่งที่มา:ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 29 ง ลงวันที่ 13 เมษายน 2542 ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภคคุณลักษณะดัชนีคุณภาพน้ำหน่วยค่ามาตรฐานเกณฑ์กำหนดที่เหมาะสมเกณฑ์อนุโลมสูงสุดทางกายภาพ1.สี(Colour)ปลาตินัม-โคบอลต์5152.ความขุ่น(Turbidity)หน่วยความขุ่น5203.ความเป็นกรด-ด่าง (pH)-7.0-8.56.5-9.2ทางเคมี4.เหล็ก (Fe)มก./ล.ไม่เกินกว่า 0.51.05.มังกานีส (Mn)มก./ล.ไม่เกินกว่า 0.30.56.ทองแดง (cu)มก./ล.ไม่เกินกว่า 1.01.57.สังกะสี (Zn)มก./ล.ไม่เกินกว่า 5.015.08.ซัลเฟต (SO4)มก./ล.ไม่เกินกว่า 2002509.คลอไรด์ (Cl)มก./ล.ไม่เกินกว่า 25060010.ฟลูออไรด์ (F)มก./ล.ไม่เกินกว่า 0.71.011.ไนเตรด (NO3)มก./ล.ไม่เกินกว่า 454512.ความกระด้างทั้งหมด
(Total Hardness as CaCO3มก./ล.ไม่เกินกว่า 30050013.ความกระด้างถาวร
(Non carbonate hardness as CaCO3มก./ล.ไม่เกินกว่า 20025014.ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้
(Total disslved solids)มก./ล.ไม่เกินกว่า 6001,200สารพิษ15.สารหนู (As)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.0516.ไซยาไนด์ (CN)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.117.ตะกั่ว (Pb)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.0518.ปรอท (Hg)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.00119.แคดเมียม (Cd)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.0120.ซิลิเนียม (Se)มก./ล.ต้องไม่มีเลย0.01ทางบักเตรี21.บักเตรีที่ตรวจพบโดยวิธี
Standard plate countโคโลนีต่อ ลบ.ซม.ไม่เกินกว่า 500-22.บักเตรีที่ตรวจพบโดยวิธี
Most Probable Number (MPN)เอ็ม.พี.เอ็น
ต่อ 100 ลบ.ซม.น้อยกว่า 2.2-23.อี.โคไล (E.coli)-ต้องไม่มีเลย-
แหล่งที่มา:ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 29 ง ลงวันที่ 13 เมษายน 2542 ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
มาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มเพื่อการบริโภค
มาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มเพื่อการบริโภค
มาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทคุณลักษณะดัชนีคุณภาพน้ำหน่วยค่ามาตรฐาน
(เกณฑ์อนุโลมสูงสุด)ทางกายภาพ1.สี (Colour)ฮาเซนยูนิต(Hazen)202.กลิ่น(Odour)-ไม่มีกลิ่น
(ไม่รวมกลิ่นคลอรีน)3.ความขุ่น(Turbidity)ซิลิกาสเกลยูนิต
(silica scale unit)54.ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)-6.5-8.5ทางเคมี5.ปริมาณสารทั้งหมด(Total Soilds)มก./ล.5006.ความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness)
(คำนวณเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต)มก./ล.1007.สารหนู (As)มก./ล.0.058.แบเรียม (Ba)มก./ล.1.09.แคดเมียม (Cd)มก./ล.0.00510.คลอไรด์
(Cl, คำนวณเป็นคลอรีน)มก./ล.25011.โครเมียม (Cr)มก./ล.0.0512.ทองแดง (cu)มก./ล.1.013.เหล็ก (Fe)มก./ล.0.314.ตะกั่ว (Pb)มก./ล.0.0515.แมงกานีส (Mn)มก./ล.0.0516.ปรอท (Hg)มก./ล.0.00217.ไนเตรต
(NO3-N, คำนวณเป็นไนโตรเจน)มก./ล.4.018.ฟีนอล (Phenols)มก./ล.0.00119.ซิลิเนียม (Se)มก./ล.0.0120.เงิน (Ag)มก./ล.0.0521.ซัลเฟต (SO4)มก./ล.25022.สังกะสี (Zn)มก./ล.5.023.ฟลูออไรด์ (F)
(คำนวณเป็นฟลูออรีน)มก./ล.1.524.อะลูมิเนียมมก./ล.0.225.เอบีเอส (Alkylbenzene Sulfonate)มก./ล.0.226.ไซยาไนด์มก./ล.0.1ทางบัคเตรี27.โคลิฟอร์ม (Coliform)เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.2.228.อี.โคไล (E.Coli)เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.ตรวจไม่พบ29.จุลินทรีย์ทำให้เกิดโรค(Disease-causing bacteria)เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.ตรวจไม่พบ หล่งที่มา:ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2524) เรื่องน้ำบริโภคในภาชนะที่ปิดสนิท ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 157 (ฉบับพิเศษ) ลงวันที่ 24 กันยายน 2524 ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมโดย ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135 (พ.ศ. 2534) เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ตีพิมพ์ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 61 ลงวันที่ 2 เมษายน 2534
ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
มาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มเพื่อการบริโภค
มาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทคุณลักษณะดัชนีคุณภาพน้ำหน่วยค่ามาตรฐาน
(เกณฑ์อนุโลมสูงสุด)ทางกายภาพ1.สี (Colour)ฮาเซนยูนิต(Hazen)202.กลิ่น(Odour)-ไม่มีกลิ่น
(ไม่รวมกลิ่นคลอรีน)3.ความขุ่น(Turbidity)ซิลิกาสเกลยูนิต
(silica scale unit)54.ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)-6.5-8.5ทางเคมี5.ปริมาณสารทั้งหมด(Total Soilds)มก./ล.5006.ความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness)
(คำนวณเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต)มก./ล.1007.สารหนู (As)มก./ล.0.058.แบเรียม (Ba)มก./ล.1.09.แคดเมียม (Cd)มก./ล.0.00510.คลอไรด์
(Cl, คำนวณเป็นคลอรีน)มก./ล.25011.โครเมียม (Cr)มก./ล.0.0512.ทองแดง (cu)มก./ล.1.013.เหล็ก (Fe)มก./ล.0.314.ตะกั่ว (Pb)มก./ล.0.0515.แมงกานีส (Mn)มก./ล.0.0516.ปรอท (Hg)มก./ล.0.00217.ไนเตรต
(NO3-N, คำนวณเป็นไนโตรเจน)มก./ล.4.018.ฟีนอล (Phenols)มก./ล.0.00119.ซิลิเนียม (Se)มก./ล.0.0120.เงิน (Ag)มก./ล.0.0521.ซัลเฟต (SO4)มก./ล.25022.สังกะสี (Zn)มก./ล.5.023.ฟลูออไรด์ (F)
(คำนวณเป็นฟลูออรีน)มก./ล.1.524.อะลูมิเนียมมก./ล.0.225.เอบีเอส (Alkylbenzene Sulfonate)มก./ล.0.226.ไซยาไนด์มก./ล.0.1ทางบัคเตรี27.โคลิฟอร์ม (Coliform)เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.2.228.อี.โคไล (E.Coli)เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.ตรวจไม่พบ29.จุลินทรีย์ทำให้เกิดโรค(Disease-causing bacteria)เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล.ตรวจไม่พบ หล่งที่มา:ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2524) เรื่องน้ำบริโภคในภาชนะที่ปิดสนิท ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 157 (ฉบับพิเศษ) ลงวันที่ 24 กันยายน 2524 ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมโดย ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135 (พ.ศ. 2534) เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ตีพิมพ์ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 61 ลงวันที่ 2 เมษายน 2534
ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
Water Quality Parameters/เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภค
Water Quality Parameters/เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภค
พารามิเตอร์
หน่วยคุณภาพน่ำดื่มของ
WHO (ปี 2527)
คุณภาพน้ำบริโภค
ในชนบท*คุณภาพน้ำประปา
กรมอนามัย (ปี 2543)** ความเป็นกรด-ด่าง(pH)pH6.5 - 8.56.5 - 8.56.5 - 8.5 สี (Color)แพลตตินั่มโคบอลท์151515 ความขุ่น (Turbidity)NTU51010 ปริมาณสารละลายทั้งหมดที่เหลือจากการ
ระเหย (TDS)mg/L (ppm)1,0001,0001,000 ความกระด้าง (Hardness)mg/L (ppm)500300500 เหล็ก (Fe)mg/L (ppm)0.30.50.5 แมงกานีส (Mn)mg/L (ppm)0.10.30.3 ทองแดง (Cu)mg/L (ppm)1.01.01.0 สังกะสี (Zn)mg/L (ppm)5.05.03.0 ตะกั่ว (Pb)mg/L (ppm)0.050.050.03 โครเมี่ยม (Cr)mg/L (ppm)0.050.050.05 แคดเมี่ยม (Cd)mg/L (ppm)0.0050.0050.003 สารหนู (As)mg/L (ppm)0.050.050.01 ปรอท (Hg)mg/L (ppm)1.01.01.0 ซัลเฟต (SO4)mg/L (ppm)400400250 คลอไรด์ (Cl)mg/L (ppm)250250250 ไนเตรท (No3 as N)mg/L (ppm)101050 ฟลูออไรด์ (F)mg/L (ppm)1.51.00.7 คลอรีนอิสระตกค้าง (Residual Free Chlorine)mg/L (ppm)-0.2 - 0.50.2 - 0.5 *** โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Total Coliform Bacteria)mpm/100 ml0100 ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Faecal Colifrom
Bacteria)mpm/100 ml000 * กำหนดโดยคณะกรรมการการบริหารโครงการจัดให้มีน้ำสะอาดในชนบททั่วราชอาณาจักร
** ประกาศกรมอนามัย เรื่อง เกณฑ์คุณภาพน้ำประปา ปี 2543
*** กำหนดให้มีปลายท่อ 0.2 - 0.5 mg/L ใช้ในระบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
Water Quality Parameters/เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภค
พารามิเตอร์
หน่วยคุณภาพน่ำดื่มของ
WHO (ปี 2527)
คุณภาพน้ำบริโภค
ในชนบท*คุณภาพน้ำประปา
กรมอนามัย (ปี 2543)** ความเป็นกรด-ด่าง(pH)pH6.5 - 8.56.5 - 8.56.5 - 8.5 สี (Color)แพลตตินั่มโคบอลท์151515 ความขุ่น (Turbidity)NTU51010 ปริมาณสารละลายทั้งหมดที่เหลือจากการ
ระเหย (TDS)mg/L (ppm)1,0001,0001,000 ความกระด้าง (Hardness)mg/L (ppm)500300500 เหล็ก (Fe)mg/L (ppm)0.30.50.5 แมงกานีส (Mn)mg/L (ppm)0.10.30.3 ทองแดง (Cu)mg/L (ppm)1.01.01.0 สังกะสี (Zn)mg/L (ppm)5.05.03.0 ตะกั่ว (Pb)mg/L (ppm)0.050.050.03 โครเมี่ยม (Cr)mg/L (ppm)0.050.050.05 แคดเมี่ยม (Cd)mg/L (ppm)0.0050.0050.003 สารหนู (As)mg/L (ppm)0.050.050.01 ปรอท (Hg)mg/L (ppm)1.01.01.0 ซัลเฟต (SO4)mg/L (ppm)400400250 คลอไรด์ (Cl)mg/L (ppm)250250250 ไนเตรท (No3 as N)mg/L (ppm)101050 ฟลูออไรด์ (F)mg/L (ppm)1.51.00.7 คลอรีนอิสระตกค้าง (Residual Free Chlorine)mg/L (ppm)-0.2 - 0.50.2 - 0.5 *** โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Total Coliform Bacteria)mpm/100 ml0100 ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Faecal Colifrom
Bacteria)mpm/100 ml000 * กำหนดโดยคณะกรรมการการบริหารโครงการจัดให้มีน้ำสะอาดในชนบททั่วราชอาณาจักร
** ประกาศกรมอนามัย เรื่อง เกณฑ์คุณภาพน้ำประปา ปี 2543
*** กำหนดให้มีปลายท่อ 0.2 - 0.5 mg/L ใช้ในระบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
สิ่งปนเปื้อนในน้ำ
น้ำที่ผ่านการกรองโดยวิธีธรรมชาติ เป็นน้ำที่บริสุทธิ์มากกว่าโดยวิธีอื่นใด แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีแร่ธาตุต่าง ๆละลายอยู่บ้าง ตามสิ่งที่น้ำนั้นได้ไหลผ่าน เช่น น้ำในลำธาร น้ำนิ่งในทะเลสาบ และที่ผ่านชั้นดินชั้นหินในดิน แต่แร่ธาตุที่ละลายในน้ำบางชนิดก็เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยทั่วไปแล้วผู้คนจะชอบดื่มน้ำแร่(mineral water) เนื่องจากมีรสชาติที่น่าพอใจ อย่างไรก็ตามถ้าแร่ธาตุในน้ำมีมากเกินไปจะคล้าย ๆ กับมีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ ซึ่งไม่ปลอดภัยต่อการนำมาใช้อุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน
เหล็กในน้ำเหล็กเป็นโลหะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในหินที่เกิดจากลาวา(igneous rock) และในหินทราย งานวิจัยทุกวันนี้ไม่ได้กล่าวถึงระดับของเหล็กในน้ำที่ส่งผลกระทบต่อร่างกาย แต่หากมีเหล็กในน้ำดื่มเกิน 0.3 ppm จะทำให้เกิดสีและรสที่ไม่พึงประสงค์ นอกจากนั้นยังทำให้เกิดคราบเกาะตามเสื้อผ้าและอ่างล้างอีกด้วย ในท่อส่งน้ำมักจะมีเหล็กละลายอยู่ในน้ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนจะกลายเป็นสารประกอบชนิดใหม่ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า(visible) หรือที่เราพบเป็นประจำในรูปสนิมเหล็ก
ทองแดงในน้ำในน้ำประปาทั่วไปเรามักไม่พบทองแดง แต่ถ้าพบทองแดงในน้ำดื่ม เมื่อบริโภคเข้าไปอาจส่งผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับทางเดินอาหารได้ นอกจากนั้นยังทำให้เกิดฟิล์มสีเขียวเกาะบนผิวของอ่างล้างและอ่างอาบน้ำด้วย ทาง EPA ได้กำหนดมาตรฐานของทองแดงไว้ว่า หากมีปริมาณทองแดงในน้ำ 1 ppm หรือมากกว่าจะต้องหาแนวทางในการจัดการอย่างถูกต้องทันที
ซัลเฟตในน้ำซัลเฟต(หรือสารประกอบซัลเฟต) มักพบในน้ำผิวดินทั่วไปและในบ่อ ซัลเฟอร์ที่เกิดขึ้นในบ่อมีสาเหตุจากการย่อยสลายพืชน้ำ, ดิน และหิน แบคทีเรียชนิด Sulfur-Reducing Bacteria (SRB) จะเปลี่ยนซัลเฟตให้เป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งมีกลิ่นคล้ายไข่เน่า จริง ๆ แล้วไฮโดรเจนซัลไฟด์ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายแต่อย่างใด แต่ทั้งรสและกลิ่นนั้นทำให้เกิดความรำคาญ เครื่องทำน้ำร้อนก็เป็นแหล่งไฮโดรเจนซัลไฟด์ด้วยเช่นกัน แท่งแมกนีเซียมถูกนำมาใช้ในเครื่องทำความร้อนเพื่อควบคุมการกัดกร่อน และสามารถลดการเกิดไฮโดรเจนซัลไฟด์ได้อีกด้วย แหล่งของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์แหล่งอื่น ๆ ได้แก่ ขยะ(sewage pollution) โดยกลิ่นจะชัดเจนและรุนแรงมากขึ้นถ้าถูกรดน้ำ และถ้ามีซัลเฟตปนเปื้อนในน้ำมากกว่า 250 ppm เมื่อบริโภคเข้าไปจะส่งผลให้ท้องเสียได้
คลอไรด์ในน้ำคลอไรด์ในน้ำจะอยู่ในรูป C l- ซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ที่พบมาก ถ้ามีคลอไรด์ในน้ำ 250 ppm จะทำให้น้ำเริ่มมีรสเค็ม บริเวณชายหาดจะพบคลอไรด์ในบ่อที่มีน้ำชะดินจากแหล่งน้ำกร่อยเข้ามา คลอไรด์ปะปนมาในน้ำประปาโดยเครื่องกรองน้ำ (water softener units) ถ้าคลอไรด์มีปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อท่อส่งน้ำ(ที่ทำจากโลหะ)ได้ และทำให้พืชน้ำเจริญ และในทางการแพทย์ได้กำหนดว่าโภชนาการที่ดีนั้นจะต้องมีปริมาณเกลือโซเดียมคลอไรด์ต่ำ ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
น้ำที่ผ่านการกรองโดยวิธีธรรมชาติ เป็นน้ำที่บริสุทธิ์มากกว่าโดยวิธีอื่นใด แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีแร่ธาตุต่าง ๆละลายอยู่บ้าง ตามสิ่งที่น้ำนั้นได้ไหลผ่าน เช่น น้ำในลำธาร น้ำนิ่งในทะเลสาบ และที่ผ่านชั้นดินชั้นหินในดิน แต่แร่ธาตุที่ละลายในน้ำบางชนิดก็เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยทั่วไปแล้วผู้คนจะชอบดื่มน้ำแร่(mineral water) เนื่องจากมีรสชาติที่น่าพอใจ อย่างไรก็ตามถ้าแร่ธาตุในน้ำมีมากเกินไปจะคล้าย ๆ กับมีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ ซึ่งไม่ปลอดภัยต่อการนำมาใช้อุปโภคบริโภคในชีวิตประจำวัน
เหล็กในน้ำเหล็กเป็นโลหะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในหินที่เกิดจากลาวา(igneous rock) และในหินทราย งานวิจัยทุกวันนี้ไม่ได้กล่าวถึงระดับของเหล็กในน้ำที่ส่งผลกระทบต่อร่างกาย แต่หากมีเหล็กในน้ำดื่มเกิน 0.3 ppm จะทำให้เกิดสีและรสที่ไม่พึงประสงค์ นอกจากนั้นยังทำให้เกิดคราบเกาะตามเสื้อผ้าและอ่างล้างอีกด้วย ในท่อส่งน้ำมักจะมีเหล็กละลายอยู่ในน้ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนจะกลายเป็นสารประกอบชนิดใหม่ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า(visible) หรือที่เราพบเป็นประจำในรูปสนิมเหล็ก
ทองแดงในน้ำในน้ำประปาทั่วไปเรามักไม่พบทองแดง แต่ถ้าพบทองแดงในน้ำดื่ม เมื่อบริโภคเข้าไปอาจส่งผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับทางเดินอาหารได้ นอกจากนั้นยังทำให้เกิดฟิล์มสีเขียวเกาะบนผิวของอ่างล้างและอ่างอาบน้ำด้วย ทาง EPA ได้กำหนดมาตรฐานของทองแดงไว้ว่า หากมีปริมาณทองแดงในน้ำ 1 ppm หรือมากกว่าจะต้องหาแนวทางในการจัดการอย่างถูกต้องทันที
ซัลเฟตในน้ำซัลเฟต(หรือสารประกอบซัลเฟต) มักพบในน้ำผิวดินทั่วไปและในบ่อ ซัลเฟอร์ที่เกิดขึ้นในบ่อมีสาเหตุจากการย่อยสลายพืชน้ำ, ดิน และหิน แบคทีเรียชนิด Sulfur-Reducing Bacteria (SRB) จะเปลี่ยนซัลเฟตให้เป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งมีกลิ่นคล้ายไข่เน่า จริง ๆ แล้วไฮโดรเจนซัลไฟด์ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายแต่อย่างใด แต่ทั้งรสและกลิ่นนั้นทำให้เกิดความรำคาญ เครื่องทำน้ำร้อนก็เป็นแหล่งไฮโดรเจนซัลไฟด์ด้วยเช่นกัน แท่งแมกนีเซียมถูกนำมาใช้ในเครื่องทำความร้อนเพื่อควบคุมการกัดกร่อน และสามารถลดการเกิดไฮโดรเจนซัลไฟด์ได้อีกด้วย แหล่งของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์แหล่งอื่น ๆ ได้แก่ ขยะ(sewage pollution) โดยกลิ่นจะชัดเจนและรุนแรงมากขึ้นถ้าถูกรดน้ำ และถ้ามีซัลเฟตปนเปื้อนในน้ำมากกว่า 250 ppm เมื่อบริโภคเข้าไปจะส่งผลให้ท้องเสียได้
คลอไรด์ในน้ำคลอไรด์ในน้ำจะอยู่ในรูป C l- ซึ่งเป็นสารอนินทรีย์ที่พบมาก ถ้ามีคลอไรด์ในน้ำ 250 ppm จะทำให้น้ำเริ่มมีรสเค็ม บริเวณชายหาดจะพบคลอไรด์ในบ่อที่มีน้ำชะดินจากแหล่งน้ำกร่อยเข้ามา คลอไรด์ปะปนมาในน้ำประปาโดยเครื่องกรองน้ำ (water softener units) ถ้าคลอไรด์มีปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อท่อส่งน้ำ(ที่ทำจากโลหะ)ได้ และทำให้พืชน้ำเจริญ และในทางการแพทย์ได้กำหนดว่าโภชนาการที่ดีนั้นจะต้องมีปริมาณเกลือโซเดียมคลอไรด์ต่ำ ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
ดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป
โดยทั่วไปน้ำมีการใช้ประโยชน์ในหลายด้าน เช่นเป็นแหล่งน้ำดิบเพื่อการประปา เพื่อการเกษตรกรรม เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และเพื่อการดำรงของสัตว์น้ำเป็นต้น ความต้องการคุณภาพน้ำจะแตกต่างกัน ขึ้นกับว่านำน้ำไปใช้ประโยชน์ทางด้านใด ดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไปที่กล่าวถึง เป็นดัชนีที่บ่งบอกสภาพของแม่น้ำโดยทั่วไป โดยมิได้ระบุโดยตรงว่าสามารถนำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง เช่นเดียวกัน การบอกสภาพร่างกายของคนว่าสมบูรณ์แข็งแรง หรือป่วยแค่ไหนแต่มีได้ชี้ให้เห็นโดยตรงว่า คนที่มีอาการอย่างนั้นจะทำอะไรได้บ้าง (ซึ่งคนป่วยไม่มากก็ยังทำงานบางอย่างได้) โดยเหตุนี้เราจึงเรียกว่า ดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป (General Water Quality Index) เพื่อบ่งบอก ระดับคุณภาพน้ำว่าอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ดีพอใช้หรือต่ำ ซึ่งจะทำให้เราทราบว่าแม่น้ำดังกล่าวจะต้องดำเนินการควบคุมดูแลอย่างไรบ้าง เช่นเดียวกับถ้าป่วย (คุณภาพน้ำต่ำ) ก็ต้องไปหาหมอ (มีมาตรการจัดการโดยด่วน) ซึ่งจะแก้ไขมากน้อยเพียงไร ก็ต้องดูว่าอาการที่เกิดขึ้นรุนแรงมากหรือน้อยและ สาเหตุ เกิดเนื่องมาจาก ธรรมชาติเอง เช่น ความขุ่น หรือจากการกระทำของมนุษย์ เช่นการระบายน้ำเสีย
Unweighted Multiplicative River Water Quality Index เป็นวิธีใช้ในการเผยแพร่ให้ความรู้ทางด้านคุณภาพน้ำแก่สาธารณชนทราบ ด้วยคำที่ง่าย วิธีการรวบรัด และเข้าใจโดยง่าย ไม่สลับซับซ้อน ซึ่งใช้อยู่ในสหรัฐอเมริกา และเป็นวิธีหนึ่งที่ถูกใช้ในการจัดทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกา (พัฒนาโดย Brown, R.M., et al. 1970)
ดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป (WQI) ที่กล่าวถึง มีหน่วยเป็นคะแนน เริ่มจาก 0 ถึง 100 คะแนน ( ขอให้คิดเหมือนการสอบ ) 91–100 คะแนน ถือว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดีมาก 71-90 คะแนน คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดี 61-70 คะแนน คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 31-60 คะแนน คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม 0-30 คะแนนคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก
คะแนนเหล่านี้โดยปกติเกิดมาจากการรวมคะแนน ดัชนีคุณภาพน้ำ 9 ดัชนี ได้แก่ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) , ออกซิเจนละลายน้ำ (DO) , ของแข็งทั้งหมด (Total Solid, TS) , แบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria, FCB) , ไนเตรท (NO 3 -) , ฟอสเฟต (PO 4 3-) , ความขุ่น (Turbidity), อุณหภูมิ (Temperature) , และความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (Biological Oxygen Demand, BOD) เข้าด้วยกันเป็นคะแนนรวมอย่างเดียว โดยใช้สมการ WQI = [(pH) (DO) (TS) (FCB) (NO 3 -) (PO 4 3-) (Turbid) (Temp) (BOD)]^1/9
ที่มาของทั้ง 9 และคะแนนที่เกี่ยวข้องของแต่ละดัชนีคุณภาพน้ำ เกิดมาจากการส่งแบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญต่างๆนับร้อยคน (ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับการพัฒนาระเบิดปรมาณู) โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายกำหนดว่าการพิจารณาคุณภาพน้ำทั่วไป ควรดูดัชนีอะไรบ้าง และถ้าจะให้คะแนนตามระดับความเข้มข้นต่างๆเช่น ค่าออกซิเจน 3 มิลลิกรัมต่อลิตรจะให้คะแนนเท่าไหร่ ซึ่งผลการรวมความคิดของเหล่าผู้เชี่ยวชาญดังกล่าว ได้นำไปสู่การพัฒนาดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไปซึ่งได้มีการพิสูจน์เปรียบเทียบผลคะแนนคุณภาพน้ำที่ได้จากวิธีนี้กับความรู้สึกของผู้เชี่ยวชาญแล้วพบว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
กรมควบคุมมลพิษได้มีการทดสอบวิธีดังกล่าวกับผลคุณภาพน้ำที่มีอยู่ในแม่น้ำ 45 สายเป็นระยะเวลา 1 ปี และได้ดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยในการรายงานผลดัชนีวัดคุณภาพน้ำทั่วไปจะใช้ดัชนีตรวจวัดคุณภาพน้ำ 8 ดัชนี ไม่รวมอุณหภูมิเพื่อให้ WQI มีความอ่อนไหวพอสมควรต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ และทั้งนี้สภาพอุณหภูมิน้ำและอากาศในบ้านเราเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก (จะใช้อุณหภูมิเมื่อพบว่ามี Thermal Pollution) จากการทดลองใช้ Modified Water Quality Index กับผลข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่างๆในประเทศไทยพบว่าการวิเคราะห์ผลอยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ดีในทางปฏิบัติ สามารถนำไปใช้ในการอธิบายภาพรวมของคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ รวมทั้งยังใช้เปรียบเทียบระดับคุณภาพน้ำระหว่างแม่น้ำได้ ซึ่งทำให้ง่ายต่อการมองภาพรวม เพื่อให้ผู้บริหารและประชาชนซึ่งไม่มีพื้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้เข้าใจสภาพปัญหาคุณภาพน้ำที่เกิดขึ้น
คะแนนที่ได้จากแต่ละพารามิเตอร์ สามารถทดสอบได้จากเส้นกราฟ (Rating Curve) ที่เสนอมารวมกับโปรแกรมและหลังจากที่คำนวณแต่ละพารามิเตอร์ จะทำทุกคะแนนรวมกันอีกครั้งเพื่อหาคะแนนสุดท้าย จากสูตรคำนวณดังข้างต้น ทั้งนี้กรมควบคุมมลพิษได้ปรับ rating curve เพื่อพัฒนาให้สูตรการคำนวณ WQI เหมาะสมกับแม่น้ำในประเทศไทยและสามารถเปรียบเทียบได้กับมาตรฐานแหล่งน้ำผิวดิน นั่นคือ
ช่วง WQIระดับค่า WQIเทียบได้กับมาตรฐานแหล่งน้ำประเภท0-30เสื่อมโทรมมาก531-60เสื่อมโทรม461-70พอใช้371- 90ดี291-100ดีมาก1 ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
โดยทั่วไปน้ำมีการใช้ประโยชน์ในหลายด้าน เช่นเป็นแหล่งน้ำดิบเพื่อการประปา เพื่อการเกษตรกรรม เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และเพื่อการดำรงของสัตว์น้ำเป็นต้น ความต้องการคุณภาพน้ำจะแตกต่างกัน ขึ้นกับว่านำน้ำไปใช้ประโยชน์ทางด้านใด ดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไปที่กล่าวถึง เป็นดัชนีที่บ่งบอกสภาพของแม่น้ำโดยทั่วไป โดยมิได้ระบุโดยตรงว่าสามารถนำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง เช่นเดียวกัน การบอกสภาพร่างกายของคนว่าสมบูรณ์แข็งแรง หรือป่วยแค่ไหนแต่มีได้ชี้ให้เห็นโดยตรงว่า คนที่มีอาการอย่างนั้นจะทำอะไรได้บ้าง (ซึ่งคนป่วยไม่มากก็ยังทำงานบางอย่างได้) โดยเหตุนี้เราจึงเรียกว่า ดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป (General Water Quality Index) เพื่อบ่งบอก ระดับคุณภาพน้ำว่าอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ดีพอใช้หรือต่ำ ซึ่งจะทำให้เราทราบว่าแม่น้ำดังกล่าวจะต้องดำเนินการควบคุมดูแลอย่างไรบ้าง เช่นเดียวกับถ้าป่วย (คุณภาพน้ำต่ำ) ก็ต้องไปหาหมอ (มีมาตรการจัดการโดยด่วน) ซึ่งจะแก้ไขมากน้อยเพียงไร ก็ต้องดูว่าอาการที่เกิดขึ้นรุนแรงมากหรือน้อยและ สาเหตุ เกิดเนื่องมาจาก ธรรมชาติเอง เช่น ความขุ่น หรือจากการกระทำของมนุษย์ เช่นการระบายน้ำเสีย
Unweighted Multiplicative River Water Quality Index เป็นวิธีใช้ในการเผยแพร่ให้ความรู้ทางด้านคุณภาพน้ำแก่สาธารณชนทราบ ด้วยคำที่ง่าย วิธีการรวบรัด และเข้าใจโดยง่าย ไม่สลับซับซ้อน ซึ่งใช้อยู่ในสหรัฐอเมริกา และเป็นวิธีหนึ่งที่ถูกใช้ในการจัดทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกา (พัฒนาโดย Brown, R.M., et al. 1970)
ดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป (WQI) ที่กล่าวถึง มีหน่วยเป็นคะแนน เริ่มจาก 0 ถึง 100 คะแนน ( ขอให้คิดเหมือนการสอบ ) 91–100 คะแนน ถือว่า คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดีมาก 71-90 คะแนน คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดี 61-70 คะแนน คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 31-60 คะแนน คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม 0-30 คะแนนคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก
คะแนนเหล่านี้โดยปกติเกิดมาจากการรวมคะแนน ดัชนีคุณภาพน้ำ 9 ดัชนี ได้แก่ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) , ออกซิเจนละลายน้ำ (DO) , ของแข็งทั้งหมด (Total Solid, TS) , แบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria, FCB) , ไนเตรท (NO 3 -) , ฟอสเฟต (PO 4 3-) , ความขุ่น (Turbidity), อุณหภูมิ (Temperature) , และความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (Biological Oxygen Demand, BOD) เข้าด้วยกันเป็นคะแนนรวมอย่างเดียว โดยใช้สมการ WQI = [(pH) (DO) (TS) (FCB) (NO 3 -) (PO 4 3-) (Turbid) (Temp) (BOD)]^1/9
ที่มาของทั้ง 9 และคะแนนที่เกี่ยวข้องของแต่ละดัชนีคุณภาพน้ำ เกิดมาจากการส่งแบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญต่างๆนับร้อยคน (ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับการพัฒนาระเบิดปรมาณู) โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายกำหนดว่าการพิจารณาคุณภาพน้ำทั่วไป ควรดูดัชนีอะไรบ้าง และถ้าจะให้คะแนนตามระดับความเข้มข้นต่างๆเช่น ค่าออกซิเจน 3 มิลลิกรัมต่อลิตรจะให้คะแนนเท่าไหร่ ซึ่งผลการรวมความคิดของเหล่าผู้เชี่ยวชาญดังกล่าว ได้นำไปสู่การพัฒนาดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไปซึ่งได้มีการพิสูจน์เปรียบเทียบผลคะแนนคุณภาพน้ำที่ได้จากวิธีนี้กับความรู้สึกของผู้เชี่ยวชาญแล้วพบว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
กรมควบคุมมลพิษได้มีการทดสอบวิธีดังกล่าวกับผลคุณภาพน้ำที่มีอยู่ในแม่น้ำ 45 สายเป็นระยะเวลา 1 ปี และได้ดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยในการรายงานผลดัชนีวัดคุณภาพน้ำทั่วไปจะใช้ดัชนีตรวจวัดคุณภาพน้ำ 8 ดัชนี ไม่รวมอุณหภูมิเพื่อให้ WQI มีความอ่อนไหวพอสมควรต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ และทั้งนี้สภาพอุณหภูมิน้ำและอากาศในบ้านเราเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก (จะใช้อุณหภูมิเมื่อพบว่ามี Thermal Pollution) จากการทดลองใช้ Modified Water Quality Index กับผลข้อมูลคุณภาพน้ำในแม่น้ำต่างๆในประเทศไทยพบว่าการวิเคราะห์ผลอยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ดีในทางปฏิบัติ สามารถนำไปใช้ในการอธิบายภาพรวมของคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ รวมทั้งยังใช้เปรียบเทียบระดับคุณภาพน้ำระหว่างแม่น้ำได้ ซึ่งทำให้ง่ายต่อการมองภาพรวม เพื่อให้ผู้บริหารและประชาชนซึ่งไม่มีพื้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้เข้าใจสภาพปัญหาคุณภาพน้ำที่เกิดขึ้น
คะแนนที่ได้จากแต่ละพารามิเตอร์ สามารถทดสอบได้จากเส้นกราฟ (Rating Curve) ที่เสนอมารวมกับโปรแกรมและหลังจากที่คำนวณแต่ละพารามิเตอร์ จะทำทุกคะแนนรวมกันอีกครั้งเพื่อหาคะแนนสุดท้าย จากสูตรคำนวณดังข้างต้น ทั้งนี้กรมควบคุมมลพิษได้ปรับ rating curve เพื่อพัฒนาให้สูตรการคำนวณ WQI เหมาะสมกับแม่น้ำในประเทศไทยและสามารถเปรียบเทียบได้กับมาตรฐานแหล่งน้ำผิวดิน นั่นคือ
ช่วง WQIระดับค่า WQIเทียบได้กับมาตรฐานแหล่งน้ำประเภท0-30เสื่อมโทรมมาก531-60เสื่อมโทรม461-70พอใช้371- 90ดี291-100ดีมาก1 ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
ความหมายของเหล็กกล้าไร้สนิม
ความหมายของเหล็กกล้าไร้สนิมเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless steels) หมายถึงเหล็กกล้าที่ผสมโครเมี่ยมอย่างน้อย 10.5 % ทำให้มีคุณสมบัติต้านทานการกัดกร่อนโดยเหล็กกล้าไร้สนิมจะสร้างฟิล์มของโครเมี่ยมออกไซด์ที่บางและแน่นที่ผิวเหล็กกล้า ซึ่งจะปกป้องเหล็กกล้าจากบรรยากาศภายนอก กลุ่มต่างๆ ของเหล็กกล้าไร้สนิมเหล็กกล้าไร้สนิมสามารถแบ่งตามลักษณะโครงสร้างจุลภาคได้เป็น 5 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้1. เหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติก (Ferritic grade)2. เหล็กกล้าไร้สนิมออสเตนนิติก (Austenitic grade)3. เหล็กกล้าไร้สนิมดูเพล็กซ์ (Duplex grade)4. เหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนซิติก (Martensitic grade)5. เหล็กกล้าไร้สนิมอบชุบแข็งด้วยการตกผลึก (Precipitation-hardening grade)
เหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติกที่ใช้กันมากจะผสมโครเมี่ยม (Cr) ประมาณ 12% หรือ 17% (ช่วงของส่วนผสมของ Cr +/-1%) มีนิกเกิลน้อยมาก(ติดมากับวัตถุดิบ) เหล็กกล้าไร้สนิมกลุ่มนี้จะมีโครงสร้างจุลภาคเป็นเฟอร์ไรต์และมีคุณสมบัติที่แม่เหล็กสามารถดูดติดได้ มีค่าความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (Yield strength) และค่าความต้านทานแรงดึง (Tensile strength) ปานกลาง มีค่าความยืด (Elongation) สูง เช่น เกรด 430, 409 เหล็กกล้าไร้สนิมชนิดเฟอร์ริติกมีราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มออสเตนนิติก แต่อาจพบปัญหาเรื่องเกรนหยาบ (Grain coarsening) และสูญเสียความแกร่ง(Toughness) หลังการเชื่อม การใช้งาน เช่น ชิ้นส่วนเครื่องซักผ้า ชิ้นส่วนระบบท่อไอเสีย และในบางเกรดจะผสมโครเมี่ยมสูงเพื่อใช้กับงานที่ต้องทนอุณหภูมิสูง
เหล็กกล้าไร้สนิมออสเตนนิติกที่ใช้กันมากจะผสมโครเมี่ยมประมาณ 17% (ช่วงของส่วนผสมของ Cr +/-1%) และนิกเกิล (Ni) ประมาณ 9% (ช่วงของส่วนผสมของ Ni +/-1%) การผสมนิกเกิลทำให้เหล็กกลุ่มนี้ต่างจากกลุ่มเฟอร์ริติกโดยนิกเกิลจะช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อน และทำให้โครงสร้างจุลภาคเป็นออสเตนไนต์ เหล็กกลุ่มนี้บางเกรดจะผสมโครเมี่ยมและนิเกิลเพิ่มเพื่อให้สามารถทนต่อการเกิดออกซิเดชั่นที่อุณหภูมิสูง ซึ่งทำให้สามารถใช้เป็นส่วนประกอบของเตาหลอม เหล็กกลุ่มออสเตนนิติกนี้จะทนทานต่อการกัดกร่อนดีกว่าเหล็กกลุ่มเฟอร์ริติก ในด้านคุณสมบัติเชิงกล เหล็กกลุ่มออสเตนนิติกจะมีค่าความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (Yield strength) ใกล้เคียงกับของกลุ่มเฟอร์ริติก แต่จะมีค่าความต้านทานแรงดึง (Tensile strength) และค่าความยืด (Elongation) สูงกว่าจึงสามารถขึ้นรูปได้ดีมาก เหล็กกล้าไร้สนิมกลุ่มนี้มีคุณสมบัติที่แม่เหล็กไม่ดูดติด (ในสภาพผ่านการอบอ่อน) เช่น เกรด 304, 316L, 321, 301 การใช้งาน เช่น หม้อ ช้อน ถาด
เหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนซิติก จะผสมโครเมี่ยมประมาณ 11.5-18% เหล็กกล้าไร้สนิมกลุ่มนี้มีคาร์บอนพอสมเหมาะและสามารถชุบแข็งได้ เหล็กกล้ากลุ่มนี้มีค่าความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (Yield strength) และความต้านทานแรงดึง (Tensile strength) สูงมาก แต่จะมีค่าความยืด(Elongation) ต่ำ เช่น เกรด 420 การใช้งาน เช่น ใช้ทำเครื่องมือตัดชิ้นส่วน มีด
เหล็กกล้าไร้สนิมดูเพล็กซ์ จะมีโครงสร้างผสมระหว่างออสเตนไนต์และเฟอร์ไรต์ มีโครเมี่ยมผสมประมาณ 21-28% และนิกเกิลประมาณ 3-7.5%เหล็กกล้ากลุ่มนี้จะมีความต้านทานแรงดึงที่จุดครากสูงและค่าความยืดสูง จึงเรียกได้ว่ามีทั้งความแข็งแรงและความเหนียว (Ductility) สูง เช่น เกรด 2304, 2205, 2507
เหล็กกล้าไร้สนิมอบชุบแข็งด้วยการตกผลึก มีโครเมี่ยมผสมประมาณ 15-18% และนิกเกิลอยู่ประมาณ 3-8% เหล็กกล้ากลุ่มนี้สามารถทำการชุบแข็งได้ จึงเหมาะสำหรับทำแกน ปั๊ม หัววาล์ว ตัวอย่างเกรดของเหล็กกลุ่มนี้ เช่น PH13-9Mo, AM-350 ผลของธาตุผสมคาร์บอน (Carbon)คาร์บอน (C) เป็นธาตุที่มีอยู่ในเหล็กกล้าไร้สนิมโดยทั่วไปจะไม่เกิน 0.15% (ยกเว้นเหล็กกล้าไร้สนิมกลุ่มมาร์เทนซิติก) เหล็กกล้าไร้สนิมที่มีคาร์บอนต่ำจะเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อนตามขอบเกรน เพิ่มความสามารถในการขึ้นรูปเย็น ตลอดจนเพิ่มความสามารถในการเชื่อม เหล็กกล้าไร้สนิมส่วนใหญ่ผสมคาร์บอนอยู่ 2 ช่วง คือ 0.02% (≤0.03%) และ 0.07% (0.04-0.15%) นอกจากนี้ การผสมไทเทเนียมหรือไนโอเบียมไปในเหล็กกล้าไร้สนิมจะช่วยให้จับตัวกับคาร์บอนและให้ผลดีต่อคุณสมบัติทั้งสามข้อที่กล่าวมาเหมือนเหล็กกล้าไร้สนิมคาร์บอน 0.02% เหล็กกล้าไร้สนิมที่ในเกรดมีอักษร “L”กำกับจะควบคุมคาร์บอนไม่ให้เกิน 0.03% ทำให้สามารถเชื่อมได้ดี มีความต้านทานต่อการกัดกร่อนตามขอบเกรน (Intergranular corrosion) และความสามารถในการขึ้นรูปเย็นสูงกว่าเกรดที่มีคาร์บอนสูงกว่า
โครเมี่ยม (Chromium)โครเมี่ยม (Cr) ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อนในสภาพบรรยากาศทั่วไป โดยผสมอยู่ในเหล็กกล้าไร้สนิมอย่างน้อย 10.5% แต่เพื่อให้มั่นใจว่าเนื้อเหล็กกล้าไร้สนิมมีการกระจายของโครเมี่ยมอย่างน้อย 10.5% อย่างสม่ำเสมอ จึงมักผสมโครเมี่ยมมากกว่าเล็กน้อย เหล็กกล้าไร้สนิมส่วนใหญ่ผสมโครเมี่ยมอยู่ 2 ช่วง คือ 12% (10.5-14.0%) และ 17% (16.0-24.0%) ถ้าผสมโครเมี่ยมเกินกว่า 30% จะทำให้เหล็กเปราะ
นิกเกิล (Nickel)นิเกิล (Ni) ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อนแบบมุมอับในสารละลายกรด เพิ่มความสามารถในการขึ้นรูปเย็น ตลอดจนเพิ่มความสามารถในการเชื่อม เหล็กกล้าไร้สนิมส่วนใหญ่ผสมนิกเกิลอยู่ 2 ช่วง คือ 0% (ปริมาณเล็กน้อยติดมากับเหล็ก) และ 9% (6.0-15.0%)
โมลิบดินั่ม (Molybdenum)โมลิบดินั่ม (Mo) ช่วยเสริมผลความต้านทานต่อการกัดกร่อนของโครเมี่ยม โดยเฉพาะการกัดกร่อนแบบมุมอับ และช่วยเพิ่มความต้านทานการกัดกร่อนในสภาพคลอไรด์ด้วย เหล็กกล้าไร้สนิมส่วนใหญ่ผสมโมลิบดินั่มอยู่ 2 ช่วง คือ 0% (ปริมาณเล็กน้อยติดมากับเหล็ก) และ 2% (1.0-3.0%)
ไทเทเนียม (Ti) หรือไนโอเบียม (Nb)ไทเทเนียม (Ti) หรือไนโอเบียม (Nb) ช่วยปรับปรุงความต้านทานต่อการกัดกร่อนแบบขอบเกรน (Intergranular corrosion) โดยสารทั้งสองตัวจะช่วยป้องกันการเกิดโครเมี่ยมคาร์ไบด์ นอกจากนี้ ไทเทเนียมหรือไนโอเบียมยังเพิ่มความสามารถในการขึ้นรูปเย็นและความสามารถในการเชื่อมด้วย ผิวสำเร็จชนิดต่างๆ ของเหล็กกล้าไร้สนิม
ชนิดของผิว(Surface finish)ลักษณะNo.1ผิวผ่านการรีดร้อน อบอ่อน ขจัดสนิมและกัดกรด (Descaling & Pickling) ผิวมีสีขาวเทา ค่อนข้างหยาบเนื่องจากผ่านการกัดกรดที่รุนแรง2Dผิวผ่านการรีดเย็น อบอ่อนและกัดกรด2Bผิวผ่านการรีดเย็น อบอ่อน กัดกรดและรีดปรับความเรียบผิว(skin pass rolling)BAผิวผ่านการรีดเย็นและอบอ่อนในสภาพบรรยากาศควบคุมทำให้ผิวมีลักษณะมัน เงาNo.3ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 100-120No.4ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 150-180#240ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 240#320ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 320#400ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 400HLผิวผ่านการขัดละเอียดโดยมีรอยขัดเป็นเส้นต่อเนื่องคล้ายเส้นผม (Hair line)
การเลือกใช้งานเหล็กกล้าไร้สนิม
คุณสมบัติด้านความต้านทานต่อการกัดกร่อน ความสามารถในการขึ้นรูป ความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกล้าไร้สนิมอาจแบ่งเป็นระดับต่างๆ ได้ดังนี้ความต้านทานต่อการกัดกร่อนปานกลาง เช่น ใช้สัมผัสกับน้ำสะอาด บรรยากาศตามชนบทดี เช่น น้ำตามอุตสาหกรรม บรรยากาศตามเมือง กรดอ่อนๆดีมาก น้ำทะเล บรรยากาศตามทะเล กรดสูง
ความสามารถในการขึ้นรูปปานกลาง ใช้กับงานทั่วไปดี ยืดตัวได้สูงดีมาก งานขึ้นรูปลึก (Deep drawing)
ความสามารถในการเชื่อมปานกลาง งานที่ไม่ต้องเชื่อมดี เชื่อมได้ในงานที่ไม่มีความเสี่ยงในเรื่องของการกัดกร่อนแบบขอบเกรนดีมาก เชื่อมได้ในงานที่มีความเสี่ยงในเรื่องของการกัดกร่อนแบบขอบเกรน
กลุ่มเกรดต้านการกัดกร่อนขึ้นรูปเชื่อมคุณสมบัติตัวอย่างการใช้งานเฟอร์ริติก430ปานกลางปานกลางปานกลางผสมโครเมี่ยมประมาณ 17% มีนิเกิลต่ำมาก (ติดมากับวัตถุดิบ) เป็นเกรดที่ใช้งานแพร่หลายเกรดหนึ่ง แต่มีแนวโน้มที่จะเปราะเมื่อต้องเชื่อมแบบที่มีการหลอมละลาย(Fusion welds)งานทางสถาปัตยกรรมภายใน งานตกแต่ง เครื่องใช้ภายในบ้าน เครื่องซักผ้า (washing machines) เครื่องครัว ช้อนเฟอร์ริติก430Tiกลางดีดีมากคือ เกรด 430 ที่ผสมไทเทเนียมทำให้เชื่อมและขึ้นรูปเย็นได้ดีเครื่องใช้ภายในบ้าน อ่างล้างจาน ท่อเฟอร์ริติก409ปานกลางดีดีเป็นเหล็กกล้าโครเมี่ยม 12% ที่ผสมไทเทเนียม ทนความร้อนและการเกิดออกซิไดชั่น ง่ายต่อการขึ้นรูปและเชื่อมระบบท่อไอเสียรถยนต์เฟอร์ริติก444ดีดีดีมากเป็นเกรดที่มีคาร์บอนต่ำ (≤ 0.03%) ผสมโมลิบดินั่มและไทเทเนียมทำให้ต้านทานต่อน้ำที่มีคลอไรด์เป็นองค์ประกอบ มีความต้านทานต่อการกัดกร่อนแบบChloride stress corrosion แบบรู(Pitting) แบบช่องแคบ (Crevice)และแบบขอบเกรน(Intergranular corrosion) สามารถทำการขึ้นรูปลึก (Deep drawing) ได้แท้งค์น้ำร้อน (Hot water tanks) อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน (Heat exchanger)ออสเตนนิติก304ดีดีมากดีเป็นเกรดที่นิยมใช้กันมากที่สุด มีความต้านทานต่อการกัดกร่อนดี สามารถขึ้นรูปเย็นและเชื่อมได้ดีเครื่องใช้ในบ้าน ภาชนะเครื่องครัว เครื่องหุงต้มความดัน แท้งค์น้ำ (water tanks) อ่าง(kitchen sinks) ช้อม ส้อม อุตสาหกรรมอาหาร และงานขึ้นรูปลึก(deep drawing) งานตกแต่งออสเตนนิติก304Lดีดีมากดีมากเป็นเกรด 304 ที่ผสมคาร์บอนต่ำ (<= 0.03%) ใช้เมื่อต้องการความต้านทานการกัดกร่อนตามขอบเกรน โดยเฉพาะโครงสร้างหนาที่ต้องผ่านการเชื่อมอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรมเคมีและอุตสาหกรรมอาหารที่ต้องการใช้งานเหล็กที่หนาโดยไม่ต้องทำsensitization ทำหม้อไอน้ำ เครื่องถ่ายความร้อน แท้งค์ อุตสาหกรรมนิวเคลียร์ออสเตนนิติก302ดีดีมากดีผสมนิกเกิลน้อยกว่าเกรด 304สปริงออสเตนนิติก301ดีดีมากดีผสมโครเมี่ยมและนิกเกิลต่ำเพื่อเพิ่มWork hardening มีความแข็งแรงสูงเมื่อผ่านการรีดเย็น มีความต้านทานต่อการสึกหรอ(Abrasion resistance) สูงงานชิ้นส่วนรถบรรทุก รถไฟ (Rail carriages and wagons) สปริง สายพานลำเลียงออสเตนนิติก303ดีดีมากดีเติมซัลเฟอร์เพื่อเพิ่มความสามารถในการกลึงใส แต่ความต้านทานต่อการกัดกร่อนน้อยกว่า 302งานที่ต้องทำการกลึงไสออสเตนนิติก310ดีดีมากดีเป็นเกรดที่ผสมโครเมี่ยม (~25%) และนิกเกิล (~20%) สูง สามารถทนการเกิดออกซิไดซ์ได้ที่อุณหภูมิสูงส่วนประกอบของเตาและอุปกรณ์ที่ทนทานต่ออุณหภูมิ 900-1100°Cออสเตนนิติก310Sดีดีมากดีส่วนผสมเดียวกับเกรด 310 แต่มีคาร์บอนต่ำกว่าใช้ในงานที่ต้องการความต้านทานการกัดกร่อนต่อกรดไนตริกออสเตนนิติก316ดีมากดีดีผสมโมลิบดินั่มเพื่อเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อนถังใส่ไวส์ อุปกรณ์ที่ใช้งานทางทะเล(Marine equipment) สามารถเชื่อมที่ความหนาไม่เกิน 3 ม.ม. โดยไม่ต้องทำการปรับปรุงโดยความร้อน (Heat treatment) หลังการเชื่อมออสเตนนิติก316Lดีมากดีดีมากส่วนผสมเดียวกับเกรด 316 แต่มีคาร์บอนผสมอยู่ต่ำกว่าใช้ในงานที่ต้องเชื่อมเหล็กหนาโดยไม่ให้เกิดการกัดกร่อนแบบขอบเกรน(Intergranular corrosion) ทำท่อ หม้อไอน้ำ แท้งค์ขนส่งออสเตนนิติก316Tiดีมากดีดีมากส่วนผสมเดียวกับเกรด 316 แต่มีไทเทเนียมผสมเพิ่มใช้กับงานที่ต้องการความทนทานต่อการกัดกร่อนแบบขอบเกรน (Intergranular corrosion) และต้องการความแข็งแรงที่อุณหภูมิสูงออสเตนนิติก317ดีมากดีดีผสมโครเมี่ยมประมาณ 19% นิกเกิลประมาณ 13% โมลิบดินั่มประมาณ 3-4%ใช้ทำอุปกรณ์ตามโรงงานทางเคมีที่ต้องการความต้านทานการกัดกร่อนสูงกว่า 316 โดยเฉพาะที่ต้องสัมผัสกับน้ำทะเลและHalogen saltsออสเตนนิติก321ดีดีมากดีมากผสมโครเมี่ยมประมาณ 18% นิกเกิลประมาณ 10% ไทเทเนียมประมาณ 0.5%ทำท่อ แท้งค์ ชิ้นส่วนเครื่องบินไอพ่น งานเชื่อมในอุตสาหกรรมเคมี เหมาะกับงานที่ใช้ที่อุณหภูมิสูงถึง 800 °Cออสเตนนิติก347ดีดีมากดีมากเติมไนโอเบียมและเทนทาลัมท่อมาร์เทนซิติก420ปานกลางปานกลางปานกลางชุบแข็งโครเมี่ยม 13%เครื่องมือตัดชิ้นส่วน มีด ช้อนส้อม ปั๊มและ valve shafts.มาร์เทนซิติกและตะกอนPH 17-4 age-hardening by copperงานด้านอากาศยานต์และนิวเคลียร์ แม่พิมพ์สำหรับพลาสติกvalves และ fittings
ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
ความหมายของเหล็กกล้าไร้สนิมเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless steels) หมายถึงเหล็กกล้าที่ผสมโครเมี่ยมอย่างน้อย 10.5 % ทำให้มีคุณสมบัติต้านทานการกัดกร่อนโดยเหล็กกล้าไร้สนิมจะสร้างฟิล์มของโครเมี่ยมออกไซด์ที่บางและแน่นที่ผิวเหล็กกล้า ซึ่งจะปกป้องเหล็กกล้าจากบรรยากาศภายนอก กลุ่มต่างๆ ของเหล็กกล้าไร้สนิมเหล็กกล้าไร้สนิมสามารถแบ่งตามลักษณะโครงสร้างจุลภาคได้เป็น 5 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้1. เหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติก (Ferritic grade)2. เหล็กกล้าไร้สนิมออสเตนนิติก (Austenitic grade)3. เหล็กกล้าไร้สนิมดูเพล็กซ์ (Duplex grade)4. เหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนซิติก (Martensitic grade)5. เหล็กกล้าไร้สนิมอบชุบแข็งด้วยการตกผลึก (Precipitation-hardening grade)
เหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติกที่ใช้กันมากจะผสมโครเมี่ยม (Cr) ประมาณ 12% หรือ 17% (ช่วงของส่วนผสมของ Cr +/-1%) มีนิกเกิลน้อยมาก(ติดมากับวัตถุดิบ) เหล็กกล้าไร้สนิมกลุ่มนี้จะมีโครงสร้างจุลภาคเป็นเฟอร์ไรต์และมีคุณสมบัติที่แม่เหล็กสามารถดูดติดได้ มีค่าความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (Yield strength) และค่าความต้านทานแรงดึง (Tensile strength) ปานกลาง มีค่าความยืด (Elongation) สูง เช่น เกรด 430, 409 เหล็กกล้าไร้สนิมชนิดเฟอร์ริติกมีราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มออสเตนนิติก แต่อาจพบปัญหาเรื่องเกรนหยาบ (Grain coarsening) และสูญเสียความแกร่ง(Toughness) หลังการเชื่อม การใช้งาน เช่น ชิ้นส่วนเครื่องซักผ้า ชิ้นส่วนระบบท่อไอเสีย และในบางเกรดจะผสมโครเมี่ยมสูงเพื่อใช้กับงานที่ต้องทนอุณหภูมิสูง
เหล็กกล้าไร้สนิมออสเตนนิติกที่ใช้กันมากจะผสมโครเมี่ยมประมาณ 17% (ช่วงของส่วนผสมของ Cr +/-1%) และนิกเกิล (Ni) ประมาณ 9% (ช่วงของส่วนผสมของ Ni +/-1%) การผสมนิกเกิลทำให้เหล็กกลุ่มนี้ต่างจากกลุ่มเฟอร์ริติกโดยนิกเกิลจะช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อน และทำให้โครงสร้างจุลภาคเป็นออสเตนไนต์ เหล็กกลุ่มนี้บางเกรดจะผสมโครเมี่ยมและนิเกิลเพิ่มเพื่อให้สามารถทนต่อการเกิดออกซิเดชั่นที่อุณหภูมิสูง ซึ่งทำให้สามารถใช้เป็นส่วนประกอบของเตาหลอม เหล็กกลุ่มออสเตนนิติกนี้จะทนทานต่อการกัดกร่อนดีกว่าเหล็กกลุ่มเฟอร์ริติก ในด้านคุณสมบัติเชิงกล เหล็กกลุ่มออสเตนนิติกจะมีค่าความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (Yield strength) ใกล้เคียงกับของกลุ่มเฟอร์ริติก แต่จะมีค่าความต้านทานแรงดึง (Tensile strength) และค่าความยืด (Elongation) สูงกว่าจึงสามารถขึ้นรูปได้ดีมาก เหล็กกล้าไร้สนิมกลุ่มนี้มีคุณสมบัติที่แม่เหล็กไม่ดูดติด (ในสภาพผ่านการอบอ่อน) เช่น เกรด 304, 316L, 321, 301 การใช้งาน เช่น หม้อ ช้อน ถาด
เหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนซิติก จะผสมโครเมี่ยมประมาณ 11.5-18% เหล็กกล้าไร้สนิมกลุ่มนี้มีคาร์บอนพอสมเหมาะและสามารถชุบแข็งได้ เหล็กกล้ากลุ่มนี้มีค่าความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (Yield strength) และความต้านทานแรงดึง (Tensile strength) สูงมาก แต่จะมีค่าความยืด(Elongation) ต่ำ เช่น เกรด 420 การใช้งาน เช่น ใช้ทำเครื่องมือตัดชิ้นส่วน มีด
เหล็กกล้าไร้สนิมดูเพล็กซ์ จะมีโครงสร้างผสมระหว่างออสเตนไนต์และเฟอร์ไรต์ มีโครเมี่ยมผสมประมาณ 21-28% และนิกเกิลประมาณ 3-7.5%เหล็กกล้ากลุ่มนี้จะมีความต้านทานแรงดึงที่จุดครากสูงและค่าความยืดสูง จึงเรียกได้ว่ามีทั้งความแข็งแรงและความเหนียว (Ductility) สูง เช่น เกรด 2304, 2205, 2507
เหล็กกล้าไร้สนิมอบชุบแข็งด้วยการตกผลึก มีโครเมี่ยมผสมประมาณ 15-18% และนิกเกิลอยู่ประมาณ 3-8% เหล็กกล้ากลุ่มนี้สามารถทำการชุบแข็งได้ จึงเหมาะสำหรับทำแกน ปั๊ม หัววาล์ว ตัวอย่างเกรดของเหล็กกลุ่มนี้ เช่น PH13-9Mo, AM-350 ผลของธาตุผสมคาร์บอน (Carbon)คาร์บอน (C) เป็นธาตุที่มีอยู่ในเหล็กกล้าไร้สนิมโดยทั่วไปจะไม่เกิน 0.15% (ยกเว้นเหล็กกล้าไร้สนิมกลุ่มมาร์เทนซิติก) เหล็กกล้าไร้สนิมที่มีคาร์บอนต่ำจะเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อนตามขอบเกรน เพิ่มความสามารถในการขึ้นรูปเย็น ตลอดจนเพิ่มความสามารถในการเชื่อม เหล็กกล้าไร้สนิมส่วนใหญ่ผสมคาร์บอนอยู่ 2 ช่วง คือ 0.02% (≤0.03%) และ 0.07% (0.04-0.15%) นอกจากนี้ การผสมไทเทเนียมหรือไนโอเบียมไปในเหล็กกล้าไร้สนิมจะช่วยให้จับตัวกับคาร์บอนและให้ผลดีต่อคุณสมบัติทั้งสามข้อที่กล่าวมาเหมือนเหล็กกล้าไร้สนิมคาร์บอน 0.02% เหล็กกล้าไร้สนิมที่ในเกรดมีอักษร “L”กำกับจะควบคุมคาร์บอนไม่ให้เกิน 0.03% ทำให้สามารถเชื่อมได้ดี มีความต้านทานต่อการกัดกร่อนตามขอบเกรน (Intergranular corrosion) และความสามารถในการขึ้นรูปเย็นสูงกว่าเกรดที่มีคาร์บอนสูงกว่า
โครเมี่ยม (Chromium)โครเมี่ยม (Cr) ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อนในสภาพบรรยากาศทั่วไป โดยผสมอยู่ในเหล็กกล้าไร้สนิมอย่างน้อย 10.5% แต่เพื่อให้มั่นใจว่าเนื้อเหล็กกล้าไร้สนิมมีการกระจายของโครเมี่ยมอย่างน้อย 10.5% อย่างสม่ำเสมอ จึงมักผสมโครเมี่ยมมากกว่าเล็กน้อย เหล็กกล้าไร้สนิมส่วนใหญ่ผสมโครเมี่ยมอยู่ 2 ช่วง คือ 12% (10.5-14.0%) และ 17% (16.0-24.0%) ถ้าผสมโครเมี่ยมเกินกว่า 30% จะทำให้เหล็กเปราะ
นิกเกิล (Nickel)นิเกิล (Ni) ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อนแบบมุมอับในสารละลายกรด เพิ่มความสามารถในการขึ้นรูปเย็น ตลอดจนเพิ่มความสามารถในการเชื่อม เหล็กกล้าไร้สนิมส่วนใหญ่ผสมนิกเกิลอยู่ 2 ช่วง คือ 0% (ปริมาณเล็กน้อยติดมากับเหล็ก) และ 9% (6.0-15.0%)
โมลิบดินั่ม (Molybdenum)โมลิบดินั่ม (Mo) ช่วยเสริมผลความต้านทานต่อการกัดกร่อนของโครเมี่ยม โดยเฉพาะการกัดกร่อนแบบมุมอับ และช่วยเพิ่มความต้านทานการกัดกร่อนในสภาพคลอไรด์ด้วย เหล็กกล้าไร้สนิมส่วนใหญ่ผสมโมลิบดินั่มอยู่ 2 ช่วง คือ 0% (ปริมาณเล็กน้อยติดมากับเหล็ก) และ 2% (1.0-3.0%)
ไทเทเนียม (Ti) หรือไนโอเบียม (Nb)ไทเทเนียม (Ti) หรือไนโอเบียม (Nb) ช่วยปรับปรุงความต้านทานต่อการกัดกร่อนแบบขอบเกรน (Intergranular corrosion) โดยสารทั้งสองตัวจะช่วยป้องกันการเกิดโครเมี่ยมคาร์ไบด์ นอกจากนี้ ไทเทเนียมหรือไนโอเบียมยังเพิ่มความสามารถในการขึ้นรูปเย็นและความสามารถในการเชื่อมด้วย ผิวสำเร็จชนิดต่างๆ ของเหล็กกล้าไร้สนิม
ชนิดของผิว(Surface finish)ลักษณะNo.1ผิวผ่านการรีดร้อน อบอ่อน ขจัดสนิมและกัดกรด (Descaling & Pickling) ผิวมีสีขาวเทา ค่อนข้างหยาบเนื่องจากผ่านการกัดกรดที่รุนแรง2Dผิวผ่านการรีดเย็น อบอ่อนและกัดกรด2Bผิวผ่านการรีดเย็น อบอ่อน กัดกรดและรีดปรับความเรียบผิว(skin pass rolling)BAผิวผ่านการรีดเย็นและอบอ่อนในสภาพบรรยากาศควบคุมทำให้ผิวมีลักษณะมัน เงาNo.3ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 100-120No.4ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 150-180#240ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 240#320ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 320#400ผิวที่ผ่านการขัดด้วยวัสดุสำหรับขัดเบอร์ 400HLผิวผ่านการขัดละเอียดโดยมีรอยขัดเป็นเส้นต่อเนื่องคล้ายเส้นผม (Hair line)
การเลือกใช้งานเหล็กกล้าไร้สนิม
คุณสมบัติด้านความต้านทานต่อการกัดกร่อน ความสามารถในการขึ้นรูป ความสามารถในการเชื่อมของเหล็กกล้าไร้สนิมอาจแบ่งเป็นระดับต่างๆ ได้ดังนี้ความต้านทานต่อการกัดกร่อนปานกลาง เช่น ใช้สัมผัสกับน้ำสะอาด บรรยากาศตามชนบทดี เช่น น้ำตามอุตสาหกรรม บรรยากาศตามเมือง กรดอ่อนๆดีมาก น้ำทะเล บรรยากาศตามทะเล กรดสูง
ความสามารถในการขึ้นรูปปานกลาง ใช้กับงานทั่วไปดี ยืดตัวได้สูงดีมาก งานขึ้นรูปลึก (Deep drawing)
ความสามารถในการเชื่อมปานกลาง งานที่ไม่ต้องเชื่อมดี เชื่อมได้ในงานที่ไม่มีความเสี่ยงในเรื่องของการกัดกร่อนแบบขอบเกรนดีมาก เชื่อมได้ในงานที่มีความเสี่ยงในเรื่องของการกัดกร่อนแบบขอบเกรน
กลุ่มเกรดต้านการกัดกร่อนขึ้นรูปเชื่อมคุณสมบัติตัวอย่างการใช้งานเฟอร์ริติก430ปานกลางปานกลางปานกลางผสมโครเมี่ยมประมาณ 17% มีนิเกิลต่ำมาก (ติดมากับวัตถุดิบ) เป็นเกรดที่ใช้งานแพร่หลายเกรดหนึ่ง แต่มีแนวโน้มที่จะเปราะเมื่อต้องเชื่อมแบบที่มีการหลอมละลาย(Fusion welds)งานทางสถาปัตยกรรมภายใน งานตกแต่ง เครื่องใช้ภายในบ้าน เครื่องซักผ้า (washing machines) เครื่องครัว ช้อนเฟอร์ริติก430Tiกลางดีดีมากคือ เกรด 430 ที่ผสมไทเทเนียมทำให้เชื่อมและขึ้นรูปเย็นได้ดีเครื่องใช้ภายในบ้าน อ่างล้างจาน ท่อเฟอร์ริติก409ปานกลางดีดีเป็นเหล็กกล้าโครเมี่ยม 12% ที่ผสมไทเทเนียม ทนความร้อนและการเกิดออกซิไดชั่น ง่ายต่อการขึ้นรูปและเชื่อมระบบท่อไอเสียรถยนต์เฟอร์ริติก444ดีดีดีมากเป็นเกรดที่มีคาร์บอนต่ำ (≤ 0.03%) ผสมโมลิบดินั่มและไทเทเนียมทำให้ต้านทานต่อน้ำที่มีคลอไรด์เป็นองค์ประกอบ มีความต้านทานต่อการกัดกร่อนแบบChloride stress corrosion แบบรู(Pitting) แบบช่องแคบ (Crevice)และแบบขอบเกรน(Intergranular corrosion) สามารถทำการขึ้นรูปลึก (Deep drawing) ได้แท้งค์น้ำร้อน (Hot water tanks) อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน (Heat exchanger)ออสเตนนิติก304ดีดีมากดีเป็นเกรดที่นิยมใช้กันมากที่สุด มีความต้านทานต่อการกัดกร่อนดี สามารถขึ้นรูปเย็นและเชื่อมได้ดีเครื่องใช้ในบ้าน ภาชนะเครื่องครัว เครื่องหุงต้มความดัน แท้งค์น้ำ (water tanks) อ่าง(kitchen sinks) ช้อม ส้อม อุตสาหกรรมอาหาร และงานขึ้นรูปลึก(deep drawing) งานตกแต่งออสเตนนิติก304Lดีดีมากดีมากเป็นเกรด 304 ที่ผสมคาร์บอนต่ำ (<= 0.03%) ใช้เมื่อต้องการความต้านทานการกัดกร่อนตามขอบเกรน โดยเฉพาะโครงสร้างหนาที่ต้องผ่านการเชื่อมอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรมเคมีและอุตสาหกรรมอาหารที่ต้องการใช้งานเหล็กที่หนาโดยไม่ต้องทำsensitization ทำหม้อไอน้ำ เครื่องถ่ายความร้อน แท้งค์ อุตสาหกรรมนิวเคลียร์ออสเตนนิติก302ดีดีมากดีผสมนิกเกิลน้อยกว่าเกรด 304สปริงออสเตนนิติก301ดีดีมากดีผสมโครเมี่ยมและนิกเกิลต่ำเพื่อเพิ่มWork hardening มีความแข็งแรงสูงเมื่อผ่านการรีดเย็น มีความต้านทานต่อการสึกหรอ(Abrasion resistance) สูงงานชิ้นส่วนรถบรรทุก รถไฟ (Rail carriages and wagons) สปริง สายพานลำเลียงออสเตนนิติก303ดีดีมากดีเติมซัลเฟอร์เพื่อเพิ่มความสามารถในการกลึงใส แต่ความต้านทานต่อการกัดกร่อนน้อยกว่า 302งานที่ต้องทำการกลึงไสออสเตนนิติก310ดีดีมากดีเป็นเกรดที่ผสมโครเมี่ยม (~25%) และนิกเกิล (~20%) สูง สามารถทนการเกิดออกซิไดซ์ได้ที่อุณหภูมิสูงส่วนประกอบของเตาและอุปกรณ์ที่ทนทานต่ออุณหภูมิ 900-1100°Cออสเตนนิติก310Sดีดีมากดีส่วนผสมเดียวกับเกรด 310 แต่มีคาร์บอนต่ำกว่าใช้ในงานที่ต้องการความต้านทานการกัดกร่อนต่อกรดไนตริกออสเตนนิติก316ดีมากดีดีผสมโมลิบดินั่มเพื่อเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่อนถังใส่ไวส์ อุปกรณ์ที่ใช้งานทางทะเล(Marine equipment) สามารถเชื่อมที่ความหนาไม่เกิน 3 ม.ม. โดยไม่ต้องทำการปรับปรุงโดยความร้อน (Heat treatment) หลังการเชื่อมออสเตนนิติก316Lดีมากดีดีมากส่วนผสมเดียวกับเกรด 316 แต่มีคาร์บอนผสมอยู่ต่ำกว่าใช้ในงานที่ต้องเชื่อมเหล็กหนาโดยไม่ให้เกิดการกัดกร่อนแบบขอบเกรน(Intergranular corrosion) ทำท่อ หม้อไอน้ำ แท้งค์ขนส่งออสเตนนิติก316Tiดีมากดีดีมากส่วนผสมเดียวกับเกรด 316 แต่มีไทเทเนียมผสมเพิ่มใช้กับงานที่ต้องการความทนทานต่อการกัดกร่อนแบบขอบเกรน (Intergranular corrosion) และต้องการความแข็งแรงที่อุณหภูมิสูงออสเตนนิติก317ดีมากดีดีผสมโครเมี่ยมประมาณ 19% นิกเกิลประมาณ 13% โมลิบดินั่มประมาณ 3-4%ใช้ทำอุปกรณ์ตามโรงงานทางเคมีที่ต้องการความต้านทานการกัดกร่อนสูงกว่า 316 โดยเฉพาะที่ต้องสัมผัสกับน้ำทะเลและHalogen saltsออสเตนนิติก321ดีดีมากดีมากผสมโครเมี่ยมประมาณ 18% นิกเกิลประมาณ 10% ไทเทเนียมประมาณ 0.5%ทำท่อ แท้งค์ ชิ้นส่วนเครื่องบินไอพ่น งานเชื่อมในอุตสาหกรรมเคมี เหมาะกับงานที่ใช้ที่อุณหภูมิสูงถึง 800 °Cออสเตนนิติก347ดีดีมากดีมากเติมไนโอเบียมและเทนทาลัมท่อมาร์เทนซิติก420ปานกลางปานกลางปานกลางชุบแข็งโครเมี่ยม 13%เครื่องมือตัดชิ้นส่วน มีด ช้อนส้อม ปั๊มและ valve shafts.มาร์เทนซิติกและตะกอนPH 17-4 age-hardening by copperงานด้านอากาศยานต์และนิวเคลียร์ แม่พิมพ์สำหรับพลาสติกvalves และ fittings
ผู้ดูแลระบบ 15/06/2020
ไม่มีเนื้อหาที่จะแสดง